การศึกษาโครงสร้างโลก
- นักวิทยาศาสตร์ใช้หลักฐานที่ค้นพบ รวมถึงทฤษฎี หลักการเทคโนโลยีทางตรงและทางอ้อมมาประกอบ
- ทางตรง ศึกษาโครงสร้างโลกจากหินภูเขาไฟ และวัดอุณหภูมิในบริเวณเหมืองลึกและภายในหลุมเจาะ
- ทางอ้อม ใช้คลื่นไหวสะเทือนที่เกิดจากแผ่นดินไหว

คลื่นในตัวกลาง (Body Wave) มี 2 ลักษณะ ได้แก่
- คลื่นปฐมภูมิ (P wave)
- คลื่นทุติยภูมิ (S wave)
คลื่นปฐมภูมิ (P wave)
- การเคลื่อนไหวแบบอัดขยายในแนวเดียวกับที่คลื่นส่งผ่านไป
- เคลื่อนที่ผ่านตัวกลางที่เป็นของแข็ง ของเหลว และแก๊ส
- ความเร็วประมาณ 6 - 8 km/s
- ทำให้เกิดการอัดหรือขยายตัวของชั้นหิน
คลื่นทุติยภูมิ (S wave)
- อนุภาคของตัวกลางเคลื่อนไหวตั้งฉากกับทิศทางที่คลื่นผ่านมีตั้งแนวตั้งและแนวนอน
- เคลื่อนไหวผ่านได้เฉพาะตัวกลางที่เป็นของแข็ง เท่านั้น
- ความเร็วประมาณ 3- 4 km/s
- ทำให้ชั้นหินเกิดการคดโค้ง
การแบ่งโครงสร้างโลกตามลักษณะกายภาพ
แบ่งออกเป็น 5 ส่วน
- ธรณีภาค (Lithosphere)
- ฐานธรณีภาค (Asthenosphere)
- มีโซสเฟียร์ (Mesosphere)
- แก่นโลกชั้นนอก (Outer core)
- แก่นโลกชั้นใน (Inner core)
1.ธรณีภาค - ประกอบด้วยเปลือกโลกทวีปและเปลือกโลกมหาสมุทร คลื่น P และ S เคลื่อนที่ช้าลงจนถึงแนวแบ่งเขตโมโฮโรวิซิก อยู่ระดับลึกประมาณ 100 km
2.ฐานธรณีภาค - อยู่ใต้แนวแบ่งเขตโมโฮโรวิซิกลงไปจนถึงระดับ 700 km
3.มีโซสเฟียร์ - อยู่บริเวณเนื้อโลกชั้นล่างลึกประมาณ 700 - 2900 กีโลเมตร บริเวณนี้คลื่นไวสะเทือนมีความเร็วสม่ำเสมอ เนื่องจากเป็นของแข็ง
4.แก่นโลกชั้นนอก - ที่ระดับลึก 2900 - 5150 กิโลเมตร คลื่น P ลดลง คลื่น S ไม่ปรากฎ เพราะบริเวณนี้เป็นเหล็กหลอมละลาย (โลหะ)
5.แก่นโลกชั้นใน - ที่ระดับ 5150 - 6371 กิโลเมตร ที่จุดศูนย์กลางของโลก คลื่น P มีความเร็วขึ้นเนื่องจากความกดดันแรงกดดันภายใน ทำให้เหล็กเปลี่ยนสถานะเป็นของแข็ง
การแบ่งโครงสร้างโลกตามองค์ประกอบเคมี
แบ่งออกได้เป็น 3 ชั้น ได้แก่
- เปลือกโลก (Crust)
- เนื้อโลก (Mantle)
- แก่นโลก (Core)
- เปลือกโลกทวีป มี Si และ Al เป็นส่วนใหญ่ หนาเฉลี่ย 35 - 40 km บางแห่ง 70 km
- เปลือกโลกมหาสมุทร มี Si และ Mg เป็นส่วนใหญ่ หนาเฉลี่ยน 5 - 10 km
- เนื้อโลก มีความลึกประมาณ 2900 กิโลเมตร องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นของแข็ง
ส่วนบนของชั้นเนื้อโลกกับชั้นเปลือกโลก รวมเรียกว่า " ธรณีภาค" มีความหนาประมาณ 100 กิโลเมตร
ชั้นเนื้อโลกที่มีความลึก 100-350 กิโลเมตร เรียกว่า "ชั้นฐานธรณีภาค" เป็นชั้นของหินหลอมละลาย เรียกว่า แมกมา
- แก่นโลก แบ่งออกเป็นแก่นโลกชั้นนอก หนา 2900-5100 กิโลเมตร ประกอบด้วย เหล็กและนิกเกิลที่หลอมละลายเป็นของเหลว ส่วนแก่นโลกชั้นใน ประกอบด้วยเหล็กและนิกเกิลแต่เป็นของแข็งเพราะมีความดันอุณหภูมิสูง ประมาณ 6000 องศาเซลเซียส
- นักวิทยาศาสตร์ใช้หลักฐานที่ค้นพบ รวมถึงทฤษฎี หลักการเทคโนโลยีทางตรงและทางอ้อมมาประกอบ
- ทางตรง ศึกษาโครงสร้างโลกจากหินภูเขาไฟ และวัดอุณหภูมิในบริเวณเหมืองลึกและภายในหลุมเจาะ
- ทางอ้อม ใช้คลื่นไหวสะเทือนที่เกิดจากแผ่นดินไหว

คลื่นในตัวกลาง (Body Wave) มี 2 ลักษณะ ได้แก่
- คลื่นปฐมภูมิ (P wave)
- คลื่นทุติยภูมิ (S wave)
คลื่นปฐมภูมิ (P wave)
- การเคลื่อนไหวแบบอัดขยายในแนวเดียวกับที่คลื่นส่งผ่านไป
- เคลื่อนที่ผ่านตัวกลางที่เป็นของแข็ง ของเหลว และแก๊ส
- ความเร็วประมาณ 6 - 8 km/s
- ทำให้เกิดการอัดหรือขยายตัวของชั้นหิน
คลื่นทุติยภูมิ (S wave)
- อนุภาคของตัวกลางเคลื่อนไหวตั้งฉากกับทิศทางที่คลื่นผ่านมีตั้งแนวตั้งและแนวนอน
- เคลื่อนไหวผ่านได้เฉพาะตัวกลางที่เป็นของแข็ง เท่านั้น
- ความเร็วประมาณ 3- 4 km/s
- ทำให้ชั้นหินเกิดการคดโค้ง
การแบ่งโครงสร้างโลกตามลักษณะกายภาพ
แบ่งออกเป็น 5 ส่วน
- ธรณีภาค (Lithosphere)
- ฐานธรณีภาค (Asthenosphere)
- มีโซสเฟียร์ (Mesosphere)
- แก่นโลกชั้นนอก (Outer core)
- แก่นโลกชั้นใน (Inner core)

1.ธรณีภาค - ประกอบด้วยเปลือกโลกทวีปและเปลือกโลกมหาสมุทร คลื่น P และ S เคลื่อนที่ช้าลงจนถึงแนวแบ่งเขตโมโฮโรวิซิก อยู่ระดับลึกประมาณ 100 km
2.ฐานธรณีภาค - อยู่ใต้แนวแบ่งเขตโมโฮโรวิซิกลงไปจนถึงระดับ 700 km
3.มีโซสเฟียร์ - อยู่บริเวณเนื้อโลกชั้นล่างลึกประมาณ 700 - 2900 กีโลเมตร บริเวณนี้คลื่นไวสะเทือนมีความเร็วสม่ำเสมอ เนื่องจากเป็นของแข็ง
4.แก่นโลกชั้นนอก - ที่ระดับลึก 2900 - 5150 กิโลเมตร คลื่น P ลดลง คลื่น S ไม่ปรากฎ เพราะบริเวณนี้เป็นเหล็กหลอมละลาย (โลหะ)
5.แก่นโลกชั้นใน - ที่ระดับ 5150 - 6371 กิโลเมตร ที่จุดศูนย์กลางของโลก คลื่น P มีความเร็วขึ้นเนื่องจากความกดดันแรงกดดันภายใน ทำให้เหล็กเปลี่ยนสถานะเป็นของแข็ง
การแบ่งโครงสร้างโลกตามองค์ประกอบเคมี
- เปลือกโลก (Crust)
- เนื้อโลก (Mantle)
- แก่นโลก (Core)
- เปลือกโลกทวีป มี Si และ Al เป็นส่วนใหญ่ หนาเฉลี่ย 35 - 40 km บางแห่ง 70 km
- เปลือกโลกมหาสมุทร มี Si และ Mg เป็นส่วนใหญ่ หนาเฉลี่ยน 5 - 10 km
- เนื้อโลก มีความลึกประมาณ 2900 กิโลเมตร องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นของแข็ง
ส่วนบนของชั้นเนื้อโลกกับชั้นเปลือกโลก รวมเรียกว่า " ธรณีภาค" มีความหนาประมาณ 100 กิโลเมตร
ชั้นเนื้อโลกที่มีความลึก 100-350 กิโลเมตร เรียกว่า "ชั้นฐานธรณีภาค" เป็นชั้นของหินหลอมละลาย เรียกว่า แมกมา
- แก่นโลก แบ่งออกเป็นแก่นโลกชั้นนอก หนา 2900-5100 กิโลเมตร ประกอบด้วย เหล็กและนิกเกิลที่หลอมละลายเป็นของเหลว ส่วนแก่นโลกชั้นใน ประกอบด้วยเหล็กและนิกเกิลแต่เป็นของแข็งเพราะมีความดันอุณหภูมิสูง ประมาณ 6000 องศาเซลเซียส
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น